จัดการสินทรัพย์ แยกประเภท เป็นเครื่องมือที่ช่วยใน การบริหารจัดการสินทรัพย์ภาย

จัดการสินทรัพย์ออนไลน์ สะดวกช่วยผู้บริหารทำงานง่ายขึ้น

โปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์ PEAK Asset เป็นเครื่องมือที่ช่วยใน การบริหารจัดการสินทรัพย์ภายในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยสามารถเก็บข้อมูลของสินทรัพย์ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลชื่อ รูปภาพ หมวดหมู่ อายุการใช้งาน ช่วยให้สามารถติดตาม ตรวจเช็ค ตรวจสอบสินทรัพย์ได้และระบบยังสามารถคำนวณค่าเสื่อมราคาพร้อมกับลงบัญชีให้อัตโนมัติ ช่วยลดระยะเวลาการทำงานบัญชีของพนักงานบัญชีลงเป็นอย่างมาก

24,000 บริษัท
วางใจใช้งาน PEAK

30,000

บริษัท

วางใจใช้งาน PEAK

1,400 พันธมิตรสำนักงานบัญชี

1,400

พันธมิตร

PEAK Family Partner

4  ล้านธุรกรรมต่อเดือน บน PEAK

4

ล้านธุรกรรม/เดือน

ธุรกรรมบน PEAK ต่อเดือน

40,000 ล้าน บาท/เดือน

40,000

ล้าน บาท/เดือน

มูลค่ารายการค้าต่อเดือน

จุดเด่นและฟังก์ชันของ PEAK Asset
โปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์ออนไลน์ที่ใช้งานง่ายที่สุด

คำนวณค่าเสื่อมราคา

คำนวณค่าเสื่อมราคา

คำนวณค่าเสื่อมราคาให้อัตโนมัติ

คำนวณกำไรขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ให้อัตโนมัติ

การบริหารจัดการสินทรัพย์

การบริหารจัดการสินทรัพย์

มีการจัดหมวดหมู่ให้สินทรัพย์

สามารถอัปโหลดรูปภาพทำให้ติดตามได้ง่าย

รายงานข้อมูลตามความต้องการ

รายงานข้อมูลตามความต้องการ

มีรายงานมากกว่า 4 รูปแบบ สามารถเลือกได้ตามการใช้งาน

ระบุช่วงเวลาของรายงานได้ละเอียดที่สุดได้เป็นรายวัน

บันทึกบัญชีอัตโนมัติ

บันทึกบัญชีอัตโนมัติ

ลงบัญชีให้อัตโนมัติทุกขั้นตอนในการซื้อขายและใช้งานสินทรัพย์

ลดเวลาในการทำงาน การจัดการบัญชี และป้องกันข้อมูลตกหล่น

PEAK Asset เหมาะกับใคร?
ระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่ตอบโจทย์ธุรกิจมากที่สุด

PEAK Asset สำหรับการบริหารจัดการสินทรัพย์ในธุรกิจ SME

ผู้ประกอบการ SME ที่ต้องการเครื่องมือด้านการบริหารจัดการสินทรัพย์

แยกหมวดหมู่และติดตามสินทรัพย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพช่วยให้การบริหารสินทรัพย์เป็นเรื่องง่าย

PEAK Asset สำหรับการบริหารจัดการสินทรัพย์ในฝ่ายบุคคลและบัญชี

ตัวช่วยในการจัดการสินทรัพย์สำหรับผู้ดูแลสินทรัพย์และนักบัญชี

ระบบนั้นทำการคำนวณค่าเสื่อมราคา คำนวณกำไร – ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ พร้อมทั้งยังลงบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์อัตโนมัติทุกรายการ

peakasset-peakaccount

บริหารจัดการสินทรัพย์ได้ดีกว่าเดิมเมื่อเชื่อมต่อระบบ PEAK Asset เข้ากับ PEAK Account

บันทึกบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ทุกอย่างโดยอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็นการซื้อสินทรัพย์ การขายสินทรัพย์การคำนวณค่าเสื่อมราคา รวมไปถึงสามารถคำนวณกำไรขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ได้อีกด้วย

ราคาเริ่มต้น 1,200 บาท/เดือน โปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์ PEAK Asset

บริหารธุรกิจ บัญชี การเงิน
และจัดการเงินเดือนได้ครบวงจร

เริ่มต้นเพียง 1,200 บาท/เดือน

รู้จัก PEAK Asset โปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์ ใน 3 นาที

PEAK Asset โปรแกรมบริหารสินทรัพย์ VDO

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์ PEAK Asset

โปรแกรมบริการจัดการสินทรัพย์ สามารถบันทึกขายสินทรัพย์ออกจากกิจการได้ ซึ่งสามารถเลือกสร้างเอกสารขายสินทรัพย์ได้ตามคู่มือนี้ได้เลย 

การพิมพ์รายงานสินทรัพย์ในโปรแกรมบริการจัดการสินทรัพย์ (PEAK Asset)  สามารถพิมพ์ได้ทั้ง 2 รูปแบบ

1.แบบสินทรัพย์แบบกลุ่มเพื่อดูภาพรวมของสินทรัพย์ทั้งหมดในกิจการ วิธีการพิมพ์รายงานคลิกอ่านที่นี่ 

2. รายงานสินทรัพย์รายตัวเพื่อดูความเคลื่อนไหวรายการซื้อ ขาย ยกมาของสินทรัพย์แบบลงรายละเอียด วิธีการพิมพ์รายงานคลิกอ่านที่นี่

โปรแกรมบริการจัดการสินทรัพย์ (PEAK Asset) คำนวนค่าเสื่อมราคาด้วยวิธีเส้นตรง  โดยจะคำนวนเมื่อบันทึกซื้อสินทรัพย์ หรือบันทึกสินทรัพย์ยกมา ซึ่งในกรณีที่บันทึกสินทรัพย์ยกมาจะสามารถกำหนดวันที่เริ่มให้ PEAK คิดค่าเสื่อมราคาได้

สูตรการคิดค่าเสื่อมราคาวิธีเส้นตรง

ค่าเสื่อมราคาต่อปี= (ราคาทุน-ราคาซาก)/ อายุการใช้งาน(จำนวนวัน)

ค่าเสื่อมราคาคืออะไร สำคัญกับกิจการอย่างไรคลิกอ่านเพิ่มที่นี่

วิธีการดูตารางการคำนวนค่าเสื่อมของสินทรัพย์รายตัว

โปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์ (PEAK Asset) จะคำนวนค่าเสื่อมรายเดือนให้อัตโนมัติ และจะมีการสร้างสมุดบัญชีสำหรับการบันทึกค่าเสื่อมราคาให้ หากท่านมีการสร้างกลุ่มสินทรัพย์และเลือกให้ระบบคำนวนค่าเสื่อมราคา การคำนวนค่าเสื่อมราคาในโปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์ (PEAK Asset)  จะแบ่งเป็น 2 ประเภท

  1. เมื่อมีการบันทึกซื้อสินทรัพย์เข้ามาระบบจะเริ่มคิดค่าเสื่อมให้ตั้งแต่วันที่ซื้อสินทรัพย์เข้ามา วิธีการบันทึกซื้อสินทรัพย์คลิกอ่านที่นี่
  2. เมื่อมีการบันทึกสินทรัพย์ยกมา ซึ่งเป็นการนำข้อมูลจากโปรแกรมบัญชีเดิมก่อนจะย้ายมาใช้ PEAK  ระบบจะสามารถให้เลือกได้ว่าจะโปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์ (PEAK Asset) เริ่มคิดค่าเสื่อมเมื่อวันที่เท่าไหร่ วิธีการบันทึกสินทรัพย์ยกมาคลิกอ่านที่นี่

ซึ่งฟังก์ชันนี้เพื่อช่วยลดขั้นตอนในการทำงานของกิจการ

ผลิตภัณฑ์ของ PEAK

PEAK Account
โปรแกรมบัญชีออนไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Payroll
โปรแกรมเงินเดือนออนไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Board
โปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Asset
โปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Tax
โปรแกรมการจัดการภาษีออนไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

Line @PEAKConnect
ใช้งานโปรแกรมผ่านไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

บทความน่ารู้

ธุรกิจควรมีเงินสดขั้นต่ำกี่เดือน ถึงจะเรียกว่าปลอดภัย

จักรพงษ์

7

min

ธุรกิจควรมีเงินสดขั้นต่ำกี่เดือน ถึงจะเรียกว่าปลอดภัย

เคยสงสัยกันไหมว่า ธุรกิจควรมีเงินสดสำรองไว้อย่างน้อยกี่บาท จึงจะปลอดภัย? คำว่า ‘ปลอดภัย’ ในที่นี้ หมายถึง มีเงินเพียงต่อการซื้อของมาสต๊อกเพื่อขาย เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายดำเนินงาน เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเช่า รวมถึง เงินเดือนพนักงานที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือน ถ้าเรามีเงินเยอะมากๆ เราจะไม่ต้องคำนึงถึงเรื่องว่าธุรกิจจะขาดสภาพคล่องไหม จะมีเงินจ่ายเจ้าหนี้ไหม แต่ในความเป็นจริงธุรกิจส่วนใหญ่หาเงินมาหมุนในธุรกิจได้ยากและไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสำคัญมากที่เราควรรู้ว่าควรมีเงินหมุนเวียนอยู่ในธุรกิจขั้นต่ำกี่เดือนจึงจะปลอดภัย ธุรกิจควรถือเงินสดขั้นต่ำกี่เดือน นักธุรกิจหลายๆคน เชื่อกันว่าธุรกิจควรมีเงินสดสำรองไว้อย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 3-6 เดือน การมีเงินสำรองอย่างน้อย 3-6 เดือนจะช่วยให้ธุรกิจสามารถดำเนินการต่อได้ในกรณีที่มีปัญหาขาดรายได้ รายได้เข้ามาน้อยลงหรือมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน เช่น การสูญเสียลูกค้ารายใหญ่ หรือเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันอื่น ๆ หลายคนอาจสงสัยต่อว่า ควรสำรองเงินไว้ 3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน หรือ 6 เดือนกันแน่ ทำไมไม่บอกให้ชัดๆ ไปเลย นั่นก็เพราะแต่ละธุรกิจมีเป้าหมายและความเสี่ยงไม่เหมือนกัน เงินสดสำรองที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับ 3 ปัจจัย การคำนวณเงินสำรองขั้นต่ำ ตอนนี้เรารู้กันแล้วว่าธุรกิจควรมีเงินสำรองขั้นต่ำอย่างน้อย 3-6 เดือน แต่คำถามถัดไปคือ แล้วต้องคำนวณอย่างไร? คิดเป็นมูลค่าตัวเงินคือกี่บาท? เรามาหาคำตอบกันต่อได้เลย เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ขอกำหนดว่าธุรกิจที่จะนำมาเป็นตัวอย่างนี้มีความเสี่ยงต่ำจึงสำรองเงินขั้นต่ำที่ 3 เดือน หรือ 90 วันเท่านั้น วิธีคิดก็คือ เราต้องหาว่าในแต่ละวันเรามีค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยวันละกี่บาท (ค่าใช้จ่ายทั้งเดือน/30วัน) จากนั้น จากนั้นให้นำค่าใช้จ่ายต่อวันคูณด้วย 90วัน (3เดือน) เราก็จะได้จำนวนที่ควรสำรองขั้นต่ำ 3 เดือนทันที (ค่าใช้จ่ายต่อเดือน/30) x 90 วัน ตัวอย่างการคำนวณเงินสำรองขั้นต่ำ บริษัท A มีค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่ 30,000 บาท หาร 30 วัน จะได้ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อวันที่ 1,000 บาท เมื่อต้องสำรองที่ 3 เดือน จึงนำค่าใช้จ่ายต่อวันคูณด้วย 90 วัน แปลว่าต้องสำรองเงินขั้นต่ำสำหรับ 3 เดือนอยู่ที่ 90,000 บาทนั่นเอง (30,000/30) x 90 วัน = 90,000 บาท ธุรกิจควรสำรองเงินขั้นต่ำอย่างน้อย 3-6 เดือน ซึ่งคำนวณง่ายๆ โดยนำค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่จ่ายต่อวันคูณด้วย 90 วัน (3 เดือน) ซึ่งถ้าใครอยากปลอดภัยมากกว่าก็เปลี่ยนจำนวนวันที่สำรองจาก 90 วัน ไปเป็น 180 วันหรือมากกว่านั้นก็ได้ อย่างไรก็ตาม การสำรองเงินที่เหมาะสมควรพิจารณาตามลักษณะและความเสี่ยงของแต่ละธุรกิจ และควรวางแผนการบริหารจัดการเงินทุนให้เหมาะสมกับความเสี่ยงและเป้าหมายของธุรกิจนั้น ๆ สำหรับในตอนถัดไป เราจะไปดูภาพรวมในการวางแผนการรับ-จ่ายเงินอย่างมีแบบแผนมากขึ้นผ่านการจัดทำ “งบประมาณ หรือ Budget” แบบง่ายๆ ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมากในการควบคุมการใช้จ่ายเงินในธุรกิจให้ตรงตามเป้าหมาย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น โปรแกรมบัญชีออนไลน์ PEAK ช่วยผู้ประกอบการจัดการบัญชีอย่างเป็นระบบ รองรับการเติบโต ช่วยให้ธุรกิจก้าวไปสู่ความสำเร็จ ทดลองใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี! 30 วัน มูลค่า 1,200 บาทคลิก (ไม่มีค่าใช้จ่าย)PEAK Call Center : 1485LINE : @peakaccountสอบถามเพิ่มเติม คลิก

ความรู้ธุรกิจความรู้บัญชี

ขายออนไลน์แบบไหนต้องจดทะเบียนการตลาดแบบตรง

PEAK Account

9

min

ขายออนไลน์แบบไหนต้องจดทะเบียนการตลาดแบบตรง

การขายออนไลน์ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในยุคดิจิทัล ธุรกิจหลายประเภทสามารถเข้าถึงลูกค้าได้ง่ายและรวดเร็วผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ อย่างไรก็ตามหากการดำเนินธุรกิจเกี่ยวข้องกับ “การตลาดแบบตรง” (Direct Marketing) กฎหมายได้กำหนดให้ผู้ประกอบการบางรายต้องดำเนินการจดทะเบียนกับสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) เพื่อป้องกันความเสียหายต่อผู้บริโภคและส่งเสริมความโปร่งใสในธุรกิจ การตลาดแบบตรงคืออะไร “ตลาดแบบตรง” หมายความว่า การทําตลาดสินค้าหรือบริการในลักษณะของการสื่อสารข้อมูล เพื่อเสนอขายสินค้าหรือบริการโดยตรงต่อผู้บริโภคซึ่งอยู่ห่างโดยระยะทางและมุ่งหวังให้ผู้บริโภคแต่ละราย ตอบกลับเพื่อซื้อสินค้าหรือบริการจากผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงนั้นที่มา: พูดง่ายๆก็คือ การเสนอขายสินค้าหรือบริการโดยตรงถึงผู้บริโภคผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์, อีเมล, ข้อความ SMS, หรือการโฆษณาทางสื่อออนไลน์ที่กระตุ้นให้ผู้บริโภคตอบสนองทันที โดยไม่ผ่านหน้าร้านค้าหรือช่องทางตัวแทนจำหน่าย หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นคำขอจดทะเบียนการตลาดแบบตรงกับ สคบ. สำหรับธุรกิจที่เข้าข่ายการตลาดแบบตรง การจดทะเบียนกับ สคบ. ถือเป็นข้อบังคับที่สำคัญ โดยมีข้อกำหนดดังนี้ อย่างไรก็ตาม บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่จะทำการตลาดแบบตรง จะต้องยื่นคำขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงต่อสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) มิฉะนั้น จะต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปีหรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และปรับอีกวันละไม่เกิน 10,000 บาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่ ขายออนไลน์แบบไหนต้องจดทะเบียนการตลาดแบบตรง ธุรกิจที่ได้รับการยกเว้นการขึ้นทะเบียนการตลาดแบบตรง การจดทะเบียนการตลาดแบบตรงกับ สคบ. ไม่เพียงแต่เป็นการปฏิบัติตามข้อกำหนดทางกฎหมาย แต่ยังช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับธุรกิจในสายตาผู้บริโภคอีกด้วย  การขายออนไลน์ในรูปแบบการตลาดแบบตรงมีโอกาสสูงในการสร้างรายได้ แต่ผู้ประกอบการจำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงหากร้านค้าออนไลน์ต้องการเติบโตอย่างยั่งยืน การทำบัญชีที่ถูกต้องและเป็นระบบคือกุญแจสำคัญในการบริหารร้านค้าออนไลน์ การเลือกใช้ PEAK โปรแกรมบัญชีออนไลน์ จะช่วยให้เจ้าของธุรกิจสามารถจัดการบัญชีได้ง่ายดายเพียงแค่การเชื่อมต่อ API ให้บันทึกข้อมูลบัญชี สร้างเอกสารอัตโนมัติ ครบถ้วนทุกรายการขาย เพียงเท่านี้ก็ช่วยลดขั้นตอนและลดต้นทุนในการทำงาน  เพื่อให้ธุรกิจของคุณดำเนินไปอย่างราบรื่นและเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย

ความรู้ธุรกิจ

PEAK Account

7

min

อัปเดตฟังก์ชัน PEAK 13/11/2024

เอาใจผู้ใช้งานโปรแกรม PEAK ด้วยฟังก์ชันใหม่ที่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ✨ 1.  เพิ่มฟังก์ชันในการบันทึกรับ/จ่ายชำระเงิน เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นในการบันทึกรายการรับ/จ่ายเงิน 1.1 เพิ่มการเลือกผังบัญชีย่อยในการรับ/จ่ายชำระเงิน 📢 สำหรับกิจการที่ต้องการความละเอียดในการปรับปรุงบัญชี สามารถบันทึกรายการโดยเลือกผังบัญชีย่อยได้โดยตรงจากหน้าบันทึกรับ/จ่ายชำระเงิน กรณีผังบัญชีที่เลือกสามารถระบุบัญชีย่อยได้ เช่น ลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้อื่น ทำให้การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันสามารถแยกเข้าไปยังผังบัญชีย่อยได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน ลดขั้นตอนการปรับปรุงบัญชีและเพิ่มความสะดวกในการทำงาน 1.2 เพิ่มการแก้ไขจำนวนเงิน ผังบัญชีและบัญชีย่อย 📢 สำหรับกิจการที่ต้องการความสะดวกในการแก้ไขรายการรับ-จ่ายเงิน เมื่อบันทึกรับ/จ่ายชำระเงินที่เอกสารแล้ว สามารถแก้ไขจำนวนเงิน เพิ่มหรือลบรายการรับ/จ่ายชำระเงินได้อย่างสะดวก โดยการแก้ไขนั้นมูลค่าที่รับ/จ่ายชำระจะต้องเท่ากับมูลค่าเดิม นอกจากนี้ยังสามารถเลือกรายการที่ต้องการปรับปรุงที่หน้าการแก้ไขอย่างง่าย (Easy Edit) ได้ ช่วยให้แก้ไขข้อมูลมีความสะดวก ครบถ้วนและแม่นยำมากขึ้น หมายเหตุ: กรณีรับ/จ่ายชำระเงินด้วยเช็ค จะยังไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้ ✨ 2. เพิ่มการเลือกการแสดงข้อมูลในรายงานเอกสารฝั่งรายรับและรายจ่าย เพื่อทำให้ปรับรูปแบบการแสดงข้อมูลในรายงานได้ตามต้องการ 📢สำหรับกิจการที่ต้องการพิมพ์รายงานเอกสารรายรับ/รายจ่าย ผู้ใช้งานสามารถปรับรูปแบบรายงานและเลือกการแสดงข้อมูลในรายงานได้ตามต้องการ ทำให้เห็นรายละเอียดได้ครบถ้วนมากขึ้น เช่น สกุลเงิน อัตราแลกเปลี่ยน ช่องทางการรับ/จ่ายเงิน แสดงข้อมูลคนสร้างและคนอนุมัติเอกสาร กลุ่มจัดประเภท การหักมัดจำ เป็นต้น เพื่อให้รายงานที่ได้รับตอบโจทย์ข้อมูลที่ต้องการใช้ ✨ 3. ปรับช่องการลงทะเบียนใบกำกับภาษีและการระบุวันที่ที่ต้องการปรับปรุงรายการภาษี เพื่อเพิ่มความสะดวกในการกรอกข้อมูลและติดตามการบันทึกภาษี 📢 สำหรับกิจการที่ต้องการลงทะเบียนใบกำกับภาษี ระบบปรับช่องทางการลงทะเบียนใบกำกับภาษี ดังนี้ นอกจากนี้หากสร้างเอกสารโดยยังไม่ได้ระบุใบกำกับภาษี ระบบจะทำการแจ้งเตือนให้หน้าเอกสารอัตโนมัติ เพื่อช่วยให้การบันทึกข้อมูลมีประสิทธิภาพและสะดวกสบายมากขึ้น ตัวอย่างหน้าข้อมูลใบกำกับภาษี ตัวอย่างการแจ้งเตือน กรณีสร้างเอกสารโดยยังไม่ระบุใบกำกับภาษี ✨ 4. เพิ่มการแสดง “เลขที่ใบกำกับภาษี” ในหน้าเอกสารใบรวมจ่าย (Online View) เพื่อเพิ่มความสะดวกในการตรวจสอบข้อมูล 📢สำหรับกิจการที่ใช้แพ็กเกจ Pro และ PRO Plus หากต้องการดูรายละเอียดเลขที่ใบกำกับภาษีในใบรวมจ่ายผ่านหน้าเอกสาร (Online View) ผู้ใช้สามารถเลือกให้แสดงหรือซ่อนเลขที่ใบกำกับภาษีในใบรวมจ่ายได้ตามความต้องการ เพื่อช่วยให้การตรวจสอบข้อมูลใบกำกับภาษีสะดวกยิ่งขึ้น ตัวอย่างการแสดงเลขที่ใบกำกับภาษีหน้าเอกสาร (Online View) ✨ 5. เพิ่มการดูประวัติการใช้งานแต่ละผู้ติดต่อ ช่วยให้การติดตามการแก้ไขข้อมูลสะดวกยิ่งขึ้น 📢สำหรับกิจการที่ต้องการดูประวัติการใช้งาน ระบบจะแสดงประวัติการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับผู้ติดต่อนั้นๆในหน้าผู้ติดต่อ เช่น การสร้างผู้ติดต่อ แก้ไข เปิด-ปิดการใช้งาน และการแนบไฟล์ต่างๆ ทั้งจากบนเว็บไซต์หรือการเชื่อมต่อ API ระบบจะแสดงประวัติการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับผู้ติดต่อนั้นให้ทั้งหมด ทั้งนี้สามารถดูย้อนหลังได้สูงสุด 5 ปี เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบสาเหตุการแก้ไขข้อมูลได้สะดวกมากขึ้น ขอขอบคุณข้อเสนอแนะ โดยคุณ Kamonthip บริษัท เซลสุกิ จำกัด

ฟังก์ชันใหม่แนะนำการใช้งาน

ธุรกิจควรมีเงินสดขั้นต่ำกี่เดือน ถึงจะเรียกว่าปลอดภัย

จักรพงษ์

7

min

ธุรกิจควรมีเงินสดขั้นต่ำกี่เดือน ถึงจะเรียกว่าปลอดภัย

เคยสงสัยกันไหมว่า ธุรกิจควรมีเงินสดสำรองไว้อย่างน้อยกี่บาท จึงจะปลอดภัย? คำว่า ‘ปลอดภัย’ ในที่นี้ หมายถึง มีเงินเพียงต่อการซื้อของมาสต๊อกเพื่อขาย เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายดำเนินงาน เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเช่า รวมถึง เงินเดือนพนักงานที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือน ถ้าเรามีเงินเยอะมากๆ เราจะไม่ต้องคำนึงถึงเรื่องว่าธุรกิจจะขาดสภาพคล่องไหม จะมีเงินจ่ายเจ้าหนี้ไหม แต่ในความเป็นจริงธุรกิจส่วนใหญ่หาเงินมาหมุนในธุรกิจได้ยากและไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสำคัญมากที่เราควรรู้ว่าควรมีเงินหมุนเวียนอยู่ในธุรกิจขั้นต่ำกี่เดือนจึงจะปลอดภัย ธุรกิจควรถือเงินสดขั้นต่ำกี่เดือน นักธุรกิจหลายๆคน เชื่อกันว่าธุรกิจควรมีเงินสดสำรองไว้อย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 3-6 เดือน การมีเงินสำรองอย่างน้อย 3-6 เดือนจะช่วยให้ธุรกิจสามารถดำเนินการต่อได้ในกรณีที่มีปัญหาขาดรายได้ รายได้เข้ามาน้อยลงหรือมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน เช่น การสูญเสียลูกค้ารายใหญ่ หรือเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันอื่น ๆ หลายคนอาจสงสัยต่อว่า ควรสำรองเงินไว้ 3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน หรือ 6 เดือนกันแน่ ทำไมไม่บอกให้ชัดๆ ไปเลย นั่นก็เพราะแต่ละธุรกิจมีเป้าหมายและความเสี่ยงไม่เหมือนกัน เงินสดสำรองที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับ 3 ปัจจัย การคำนวณเงินสำรองขั้นต่ำ ตอนนี้เรารู้กันแล้วว่าธุรกิจควรมีเงินสำรองขั้นต่ำอย่างน้อย 3-6 เดือน แต่คำถามถัดไปคือ แล้วต้องคำนวณอย่างไร? คิดเป็นมูลค่าตัวเงินคือกี่บาท? เรามาหาคำตอบกันต่อได้เลย เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ขอกำหนดว่าธุรกิจที่จะนำมาเป็นตัวอย่างนี้มีความเสี่ยงต่ำจึงสำรองเงินขั้นต่ำที่ 3 เดือน หรือ 90 วันเท่านั้น วิธีคิดก็คือ เราต้องหาว่าในแต่ละวันเรามีค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยวันละกี่บาท (ค่าใช้จ่ายทั้งเดือน/30วัน) จากนั้น จากนั้นให้นำค่าใช้จ่ายต่อวันคูณด้วย 90วัน (3เดือน) เราก็จะได้จำนวนที่ควรสำรองขั้นต่ำ 3 เดือนทันที (ค่าใช้จ่ายต่อเดือน/30) x 90 วัน ตัวอย่างการคำนวณเงินสำรองขั้นต่ำ บริษัท A มีค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่ 30,000 บาท หาร 30 วัน จะได้ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อวันที่ 1,000 บาท เมื่อต้องสำรองที่ 3 เดือน จึงนำค่าใช้จ่ายต่อวันคูณด้วย 90 วัน แปลว่าต้องสำรองเงินขั้นต่ำสำหรับ 3 เดือนอยู่ที่ 90,000 บาทนั่นเอง (30,000/30) x 90 วัน = 90,000 บาท ธุรกิจควรสำรองเงินขั้นต่ำอย่างน้อย 3-6 เดือน ซึ่งคำนวณง่ายๆ โดยนำค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่จ่ายต่อวันคูณด้วย 90 วัน (3 เดือน) ซึ่งถ้าใครอยากปลอดภัยมากกว่าก็เปลี่ยนจำนวนวันที่สำรองจาก 90 วัน ไปเป็น 180 วันหรือมากกว่านั้นก็ได้ อย่างไรก็ตาม การสำรองเงินที่เหมาะสมควรพิจารณาตามลักษณะและความเสี่ยงของแต่ละธุรกิจ และควรวางแผนการบริหารจัดการเงินทุนให้เหมาะสมกับความเสี่ยงและเป้าหมายของธุรกิจนั้น ๆ สำหรับในตอนถัดไป เราจะไปดูภาพรวมในการวางแผนการรับ-จ่ายเงินอย่างมีแบบแผนมากขึ้นผ่านการจัดทำ “งบประมาณ หรือ Budget” แบบง่ายๆ ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมากในการควบคุมการใช้จ่ายเงินในธุรกิจให้ตรงตามเป้าหมาย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น โปรแกรมบัญชีออนไลน์ PEAK ช่วยผู้ประกอบการจัดการบัญชีอย่างเป็นระบบ รองรับการเติบโต ช่วยให้ธุรกิจก้าวไปสู่ความสำเร็จ ทดลองใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี! 30 วัน มูลค่า 1,200 บาทคลิก (ไม่มีค่าใช้จ่าย)PEAK Call Center : 1485LINE : @peakaccountสอบถามเพิ่มเติม คลิก

ความรู้ธุรกิจความรู้บัญชี