ภาพรวมของโปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจ ช่วยวิเคราะห์ผลประกอบการณ์ รู้กำไรขาดทุน

ตัวช่วยวิเคราะห์ข้อมูลบัญชี เห็นผลกำไร ขาดทุน บริหารธุรกิจได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ระบบวิเคราะห์ธุรกิจอย่างมืออาชีพออนไลน์ PEAK Board เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการบริหารธุรกิจภายในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยสามารถเก็บข้อมูลของรายการซื้อขายเสนอราคามาวิเคราะห์กำไรขาดทุนรายสาขา โครงการ หรือหน่วยธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังมีรายงานสำหรับผู้บริหารที่สามารถรายงานผลของกิจการตามอัตราส่วนทางการเงินเป็นรายเดือน ไตรมาส หรือรายปีเหมือนกับเรามีนักวิเคราะห์ด้านการเงินมืออาชีพอยู่ในกิจการ

24,000 บริษัท
วางใจใช้งาน PEAK

30,000

บริษัท

วางใจใช้งาน PEAK

1,400 พันธมิตรสำนักงานบัญชี

1,400

พันธมิตร

PEAK Family Partner

4  ล้านธุรกรรมต่อเดือน บน PEAK

4

ล้านธุรกรรม/เดือน

ธุรกรรมบน PEAK ต่อเดือน

40,000 ล้าน บาท/เดือน

40,000

ล้าน บาท/เดือน

มูลค่ารายการค้าต่อเดือน

จุดเด่นและฟังก์ชันของ PEAK Board โปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจอย่างมืออาชีพ

เปรียบเทียบกำไร - ขาดทุน

เปรียบเทียบกำไร – ขาดทุน

สามารถรู้กำไรเป็นราย โครงการ สาขา หน่วยธุรกิจ บริหารต้นทุน ค่าใช้จ่าย แต่ละโครงการได้

รายงานสำหรับผู้บริหาร

รายงานสำหรับผู้บริหาร

รายงานสรุปข้อมูลที่สำคัญในการทำธุรกิจ เหมือนมีนักวิเคราะห์ด้านการเงินมืออาชีพอยู่ในกิจการ

ปรับแต่งข้อมูลรายงานได้

ปรับแต่งข้อมูลรายงานได้

ปรับแต่งรายงานได้อยากอิสระตามความต้องการ เช่น รายงานยอดขายตามพนักงาน สินค้า ช่องทางการขาย

PEAK Board เหมาะกับใคร?
ระบบวิเคราะห์ธุรกิจอย่างมืออาชีพที่ตอบโจทย์ธุรกิจมากที่สุด

ผู้ประกอบการใช้ PEAK board วิเคราะห์ธุรกิจ SME

ผู้ประกอบการ SME ที่ต้องการเครื่องมือด้านการวิเคราะห์ธุรกิจ

รับรู้กำไรขาดทุนในแต่ละสาขา โครงการ หน่วยงาน รู้ยอดขายตามแผนก พนักงานขายรายบุคคล หรือภูมิภาค มีรายงานสรุปตัวเลขที่สำหรับสำหรับธรุกิจ

PEAK board ใช้สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลพนักงานโดยฝ่ายบุคคลและนักบัญชี

ตัวช่วยในการวิเคราะห์ธุรกิจ สำหรับผู้จัดการการเงินและนักบัญชี

สร้างรายงานได้ตรงตามความต้องการของผู้บริหารวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินให้อัตโนมัติปรับแต่งรายงานได้หลากหลายรูปแบบ

มารู้จัก PEAK Payroll โปรแกรมเงินเดือน
ออนไลน์ภายใน 3 นาที

มาเรียนรู้และเริ่มต้นใช้งานโปรแกรมคำนวณเงินเดือน
ออนไลน์ได้อย่างมืออาชีพด้วยวิดีโอสอนการใช้งาน
ครบทุกเมนู เพื่อให้คุณเริ่มต้นใช้งานโปรแกรมเงินเดือน
ออนไลน์ PEAK Payroll ได้อย่างมืออาชีพ

บริหารธุรกิจได้ดีกว่าเดิม วิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างตรงจุด เมื่อเชื่อมต่อระบบ PEAK Board กับ PEAK Account

วิเคราะห์ข้อมูลบัญชี รายงานการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ราคาเริ่มต้น 1,200 บาท/เดือน โปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจ PEAK Board

บริหารธุรกิจ บัญชี การเงิน
และจัดการเงินเดือนได้ครบวงจร

เริ่มต้นเพียง 1,200 บาท/เดือน

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจ PEAK Board

การสร้างกลุ่มจัดประเภทเพื่อให้เหมาะกับกิจการบนโปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจอย่างมืออาชีพนั้น (PEAK Board) ไม่ใช่เรื่องสำหรับมือใหม่ เพียงแค่คุณมีกลุ่มที่ต้องต้องการแยกรายได้ ค่าใช้จ่ายของกิจการในใจแล้วเช่น ต้องการแยกรายได้ ค่าใช้จ่าย ตามแผนก คุณสามารถ List รายชื่อแผนกต่างๆของบริษัทออกมาก่อนจากนั้นนำรายชื่อแผนกไปสร้างกลุ่มจัดประเภทตามคู่มือนี้ได้เลย 

เมื่อสร้างเรียบร้อยแล้ว ก็จะสามารถแยกเอกสารรายรับ รายจ่ายตามแผนกที่ต้องการได้เลยค่ะ นอกจากแผนกแล้วคุณยังสามารถแยกกลุ่มได้หลากหลายตามมุมมองที่กิจการต้องการมองเห็นผ่าน โปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจอย่างมืออาชีพนั้น (PEAK Board) เช่น โครงการ , ยอดขายรายสาขา หรืออื่นๆ 

PEAK Board คืออะไรและช่วยธุรกิจคุณได้อย่างอย่างไรคลิกอ่านที่นี่

เมื่อคุณได้มีการสร้างกลุ่มจัดประเภทตามมุมมองที่กิจการต้องการแล้ว สามารถนำกลุ่มจัดประเภทมาระบุบนเอกสารตามคู่มือนี้ได้เลย  เมื่อติดกลุ่มจัดประเภทบนเอกสารเรียบร้อยแล้วท่านจะสามารถเข้าไปดูตัวเลขของแต่ละกลุ่มผ่านโปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจอย่างมืออาชีพนั้น (PEAK Board) เพื่อให้ประกอบการตัดสินใจด้านธุรกิจได้อย่างเร็วรวด

วิธีการดูรายงานผ่านโปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจอย่างมืออาชีพนั้น (PEAK Board)จะแบ่งเป็น 2 รายการคือ

  1. รายงานที่ดึงข้อมูลจากการหน้าเอกสารรายรับ-รายจ่าย ที่มีการระบุกลุ่มจัดประเภทเอาไว้ วิธีการพิมพ์รายงานคลิกอ่านที่นี่  (รายงานนี้จะดึงข้อมูลมาแสดงเฉพาะเอกสารที่มีการบันทึกบัญชีรายได้หมวด4 และค่าใช้จ่ายหมวด5)
  2. รายงานวิเคราะห์ธุรกิจสำหรับผู้บริหาร / Executive Summary วิธีการพิมพ์รายงานคลิกอ่านที่นี่

สำหรับการระบุกลุ่มจัดประเภทบนเอกสาร จะไม่มีผลต่อบัญชีแยกประเภท (GL) ของกิจการ จะเป็นการแสดงผลเพียงบนโปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจอย่างมืออาชีพนั้น (PEAK Board) เพียงเท่านั้น 

ผลิตภัณฑ์ของ PEAK

PEAK Account
โปรแกรมบัญชีออนไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Payroll
โปรแกรมเงินเดือนออนไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Board
โปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Asset
โปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Tax
โปรแกรมการจัดการภาษีออนไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

Line @PEAKConnect
ใช้งานโปรแกรมผ่านไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

บทความน่ารู้

สูตรไม่ลับตรวจวัดสถานะทางการเงินของธุรกิจ

PEAK Account

9

min

สูตร(ไม่)ลับ ตรวจวัดสถานะทางการเงินของธุรกิจ

การเข้าใจสถานะทางการเงินของธุรกิจเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องในเรื่องการลงทุน การขยายกิจการ หรือแม้กระทั่งการวางแผนการเงินในระยะยาว ในบทความนี้ เราจะมาเปิดเผย “สูตร(ไม่)ลับ” ที่จะช่วยให้คุณสามารถตรวจวัดสถานะทางการเงินของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8 สูตรอัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratios) ที่ผู้ประกอบการควรรู้ อัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratios) คือ ตัวชี้วัดที่ใช้ในการวิเคราะห์สถานะทางการเงินและผลการดำเนินงานของธุรกิจ โดยอัตราส่วนเหล่านี้จะถูกคำนวณจากข้อมูลทางการเงินที่ปรากฏในงบการเงินของบริษัท เช่น งบกำไรขาดทุน งบแสดงฐานะทางการเงิน (งบดุล) และงบกระแสเงินสด อัตราส่วนทางการเงินเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้ประกอบการ เพราะสามารถช่วยให้เข้าใจถึงความสามารถของธุรกิจในการสร้างรายได้, การบริหารสินทรัพย์, และการจัดการหนี้สินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถคำนวณได้การสูตรดังต่อไปนี้ การวัดความสามารถในการจัดการหนี้สินของบริษัท 1. หนี้สินรวมต่อส่วนผู้ถือหุ้น (Total Debt to Equity Ratio) หนี้สินรวมต่อส่วนผู้ถือหุ้น = หนี้สินรวม/ส่วนผู้ถือหุ้น หนี้สินรวมต่อส่วนผู้ถือหุ้น เป็นอัตราส่วนที่ใช้วัดระดับความมั่นคงทางการเงินของบริษัทโดยการเปรียบเทียบระหว่างหนี้สินทั้งหมดของบริษัทกับส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนนี้จะแสดงให้เห็นว่าบริษัทใช้หนี้สินเท่าไหร่ในการระดมทุนเมื่อเทียบกับการใช้ทุนจากผู้ถือหุ้น 2. อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง = สินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียน อัตราส่วนสภาพคล่อง เป็นอัตราส่วนที่แสดงถึงความสามารถของบริษัทในการจ่ายหนี้ระยะสั้นโดยใช้สินทรัพย์หมุนเวียน อัตราส่วนนี้ใช้ในการวัดความสามารถของบริษัทในการจัดการกับหนี้สินที่มีการชำระภายในระยะเวลา 1 ปี เป็นการดูว่าบริษัทมีเงินหรือสินทรัพย์ที่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้เร็วพอที่จะจ่ายหนี้ระยะสั้นหรือไม่ช่วยให้เรารู้ว่าบริษัทมีความสามารถในการจ่ายหนี้ระยะสั้น (เช่น หนี้ที่ต้องจ่ายภายใน 1 ปี) มากน้อยแค่ไหน ถ้าอัตราส่วนนี้สูง แปลว่าบริษัทมีเงินพอจ่ายหนี้ แต่ถ้าต่ำ แปลว่าบริษัทอาจเจอปัญหาในการจ่ายหนี้ได้ การวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์และทุนของบริษัท 3. ROE (Return on Equity) หรือ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (%) = กำไรสุทธิ/ส่วนผู้ถือหุ้น ROE ใช้วัดว่าบริษัทสามารถทำกำไรได้เท่าไหร่จากเงินที่เจ้าของหรือผู้ถือหุ้นลงทุนไว้ บ่งบอกถึงความสามารถในการทำกำไรของบริษัท โดยทั่วไป ถ้า ROE สูง หมายความว่าบริษัทสามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีให้กับผู้ถือหุ้น 4. ROA (Return on Assets) หรือ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม ROA (%) = กำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี/สินทรัพย์รวมถัวเฉลี่ย ROA ใช้วัดว่าบริษัทสามารถทำกำไรได้เท่าไหร่จากสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี ช่วยให้เห็นว่าบริษัทใช้ทรัพยากรทั้งหมดที่มีอย่างมีประสิทธิภาพแค่ไหน ถ้า ROA สูง แปลว่าบริษัทใช้สินทรัพย์ได้ดีในการสร้างกำไร 5. อัตราหมุนเวียนสินทรัพย์รวม (Total Asset Turnover Ratio) อัตราหมุนเวียนสินทรัพย์รวม = รายได้/สินทรัพย์รวม อัตราหมุนเวียนสินทรัพย์รวม ใช้วัดว่าบริษัทใช้สินทรัพย์ทั้งหมดที่มีในการสร้างรายได้มากน้อยแค่ไหน ถ้าอัตรานี้สูง แสดงว่าบริษัทสามารถใช้สินทรัพย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพในการสร้างรายได้ แต่ถ้าต่ำ อาจแปลว่าบริษัทใช้สินทรัพย์ไม่เต็มประสิทธิภาพ การวัดและวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไรของบริษัท 6. อัตรากำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) อัตรากำไรขั้นต้น (%) = กำไรขั้นต้น/รายได้จากการขาย อัตรากำไรขั้นต้น ใช้วัดว่าบริษัททำกำไรได้เท่าไหร่หลังจากหักต้นทุนขาย (เช่น ค่าวัตถุดิบและค่าแรงในการผลิต) ออกแล้ว ช่วยให้เราเห็นว่าบริษัทมีประสิทธิภาพในการผลิตและขายสินค้า/บริการเพียงใด ถ้าอัตรานี้สูง แปลว่าบริษัทควบคุมต้นทุนการผลิตได้ดี และยังคงทำกำไรได้มากเมื่อเทียบกับรายได้ 7. อัตรากำไรจากการดำเนินงาน (Operating Profit Margin) อัตรากำไรจากการดำเนินงาน (%) = กำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี/รายได้รวม อัตรากำไรจากการดำเนินงาน วัดว่าบริษัททำกำไรได้เท่าไหร่จากการดำเนินงานหลักของธุรกิจหลังจากหักค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน (ยกเว้นดอกเบี้ยและภาษี) บอกให้รู้ถึงความสามารถในการจัดการค่าใช้จ่ายของบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจหลัก ถ้าอัตรานี้สูง แปลว่าบริษัทมีการจัดการค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ 8. อัตรากำไรสุทธิ (Net Profit Margin) อัตรากำไรสุทธิ (%) = กำไรสุทธิ/รายได้รวม อัตรากำไรสุทธิ  วัดว่าบริษัททำกำไรได้เท่าไหร่หลังจากหักค่าใช้จ่ายทั้งหมด รวมถึงดอกเบี้ยและภาษีออกจากรายได้ทั้งหมด แสดงถึงความสามารถในการทำกำไรสุทธิของบริษัท อัตรานี้บอกให้เรารู้ว่าในทุก 100 บาทของรายได้ บริษัทมีกำไรสุทธิเหลืออยู่เท่าไหร่ ถ้าอัตรานี้สูง แปลว่าบริษัทมีความสามารถในการทำกำไรที่ดี โปรแกรมบัญชีออนไลน์ PEAK ช่วยผู้ประกอบการจัดการบัญชีอย่างเป็นระบบ รองรับการเติบโต ช่วยให้ธุรกิจก้าวไปสู่ความสำเร็จทดลองใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี! 30 วัน มูลค่า 1,200 บาทคลิก   (ไม่มีค่าใช้จ่าย)PEAK Call Center : 1485LINE : @peakaccountสอบถามเพิ่มเติม คลิก 

ความรู้ธุรกิจความรู้บัญชี

PEAK Account

2

min

Update Function 11/09/2024

PEAK with the new function designed to enhance efficiency. ✨ 1.  API Integration with MCS Clinic Management System 📢 For businesses looking to use the MCS API, this feature makes it easier to connect with PEAK, allowing you to create documents within the system more quickly and efficiently. It also expands the range of customers who can use the online store management system, helping businesses operate more smoothly and effectively. ✨ 2. Status Selection Setting for Document Creation in Initial Connection Setup for Shopee/Lazada 📢 For businesses using the Shopee and Lazada API, you can now set the order status for which documents will be created during the initial connection setup. This feature makes it easier and faster to define which order statuses should send data to PEAK, improving the efficiency of document management and system integration. ✨ 3. Track Up to 10 Favorite Items for Products/Services 📢Ideal for businesses with multiple products or services, this feature allows users to set favorites in the contacts, products/services, and business selection sections. It helps users quickly and easily access frequently used information, reducing search time and enhancing the convenience of managing important data, thereby improving business efficiency. ✨ 4. Add “File Import Guide” Links for Each Platform 📢For businesses that use data imports from various platforms, this new feature provides direct access to import guides specific to the platform in use, whether it’s Shopee, Lazada, TikTok Shop, FoodStory, or ZWIZ. Previously, all guides were grouped in one place, but now you can easily access the platform-specific guide, ensuring accuracy and speeding up the data import process.

ฟังก์ชันใหม่แนะนำการใช้งาน

อัปเดตฟังก์ชั่น PEAK - 11092024

PEAK Account

4

min

อัปเดตฟังก์ชัน PEAK 11/09/2024

เอาใจผู้ใช้งานโปรแกรม PEAK ด้วยฟังก์ชันใหม่ที่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ✨ 1. เพิ่มการเชื่อมต่อ API กับระบบบริหารคลินิก MCS 📢 สำหรับธุรกิจที่ต้องการใช้ API MCS ฟีเจอร์นี้จะช่วยเพิ่มความสะดวกในการเชื่อมต่อกับ PEAK ทำให้สามารถสร้างเอกสารต่างๆบนระบบได้ง่ายและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังขยายกลุ่มลูกค้าที่สามารถใช้ระบบจัดการร้านค้าออนไลน์ได้มากขึ้น ช่วยให้การดำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คู่มือการเชื่อมต่อ PEAK x MCS ✨ 2. เพิ่มเงื่อนไขที่ต้องการสร้างเอกสารจากการเชื่อมต่อ API กับ Shopee/Lazada ให้สามารถเลือกสถานะของ Order ได้ 📢 สำหรับกิจการที่ใช้ API Shopee และ Lazada สามารถตั้งค่าสถานะ Order ที่ต้องการสร้างเอกสารได้ตั้งแต่การตั้งค่าการเชื่อมต่อครั้งแรก ฟีเจอร์นี้ช่วยให้การกำหนดสถานะคำสั่งซื้อที่ต้องการส่งข้อมูลมา PEAK เป็นไปได้ง่ายและรวดเร็ว ช่วยเพิ่มความสะดวกในการจัดการเอกสารและการเชื่อมต่อระบบให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ✨ 3. เพิ่มรายการโปรดสินค้า/บริการที่หน้าสร้างเอกสารได้สูงถึง 10 รายการ 📢 เหมาะสำหรับกิจการที่มีสินค้าหรือบริการหลายรายการ โดยผู้ใช้งานสามารถตั้งค่ารายการโปรดในส่วนของผู้ติดต่อ สินค้า/บริการ และการเลือกกิจการได้ทันที ฟีเจอร์นี้ช่วยให้เข้าถึงข้อมูลที่ใช้บ่อยได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น ลดเวลาในการค้นหา และเพิ่มความสะดวกในการจัดการข้อมูลที่สำคัญ ช่วยให้การดำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ✨ 4. เพิ่มลิงก์คู่มือ “วิธีการนำเข้าไฟล์” จากแต่ละแพลตฟอร์ม 📢สำหรับกิจการที่ใช้การนำเข้าจากแพลตฟอร์ม ฟีเจอร์ใหม่ที่ช่วยให้เข้าถึงคู่มือการนำเข้าข้อมูลที่ตรงกับแพลตฟอร์มที่ใช้งานโดยตรง ไม่ว่าจะเป็น Shopee, Lazada, TikTok Shop, FoodStory หรือ ZWIZ จากเดิมที่รวมไว้ในที่เดียว ตอนนี้สามารถเข้าถึงคู่มือเฉพาะแพลตฟอร์มได้สะดวกยิ่งขึ้น เพื่อความถูกต้องและรวดเร็วในการนำเข้าข้อมูล

ฟังก์ชันใหม่แนะนำการใช้งาน

สูตรไม่ลับตรวจวัดสถานะทางการเงินของธุรกิจ

PEAK Account

9

min

สูตร(ไม่)ลับ ตรวจวัดสถานะทางการเงินของธุรกิจ

การเข้าใจสถานะทางการเงินของธุรกิจเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องในเรื่องการลงทุน การขยายกิจการ หรือแม้กระทั่งการวางแผนการเงินในระยะยาว ในบทความนี้ เราจะมาเปิดเผย “สูตร(ไม่)ลับ” ที่จะช่วยให้คุณสามารถตรวจวัดสถานะทางการเงินของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8 สูตรอัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratios) ที่ผู้ประกอบการควรรู้ อัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratios) คือ ตัวชี้วัดที่ใช้ในการวิเคราะห์สถานะทางการเงินและผลการดำเนินงานของธุรกิจ โดยอัตราส่วนเหล่านี้จะถูกคำนวณจากข้อมูลทางการเงินที่ปรากฏในงบการเงินของบริษัท เช่น งบกำไรขาดทุน งบแสดงฐานะทางการเงิน (งบดุล) และงบกระแสเงินสด อัตราส่วนทางการเงินเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้ประกอบการ เพราะสามารถช่วยให้เข้าใจถึงความสามารถของธุรกิจในการสร้างรายได้, การบริหารสินทรัพย์, และการจัดการหนี้สินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถคำนวณได้การสูตรดังต่อไปนี้ การวัดความสามารถในการจัดการหนี้สินของบริษัท 1. หนี้สินรวมต่อส่วนผู้ถือหุ้น (Total Debt to Equity Ratio) หนี้สินรวมต่อส่วนผู้ถือหุ้น = หนี้สินรวม/ส่วนผู้ถือหุ้น หนี้สินรวมต่อส่วนผู้ถือหุ้น เป็นอัตราส่วนที่ใช้วัดระดับความมั่นคงทางการเงินของบริษัทโดยการเปรียบเทียบระหว่างหนี้สินทั้งหมดของบริษัทกับส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนนี้จะแสดงให้เห็นว่าบริษัทใช้หนี้สินเท่าไหร่ในการระดมทุนเมื่อเทียบกับการใช้ทุนจากผู้ถือหุ้น 2. อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง = สินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียน อัตราส่วนสภาพคล่อง เป็นอัตราส่วนที่แสดงถึงความสามารถของบริษัทในการจ่ายหนี้ระยะสั้นโดยใช้สินทรัพย์หมุนเวียน อัตราส่วนนี้ใช้ในการวัดความสามารถของบริษัทในการจัดการกับหนี้สินที่มีการชำระภายในระยะเวลา 1 ปี เป็นการดูว่าบริษัทมีเงินหรือสินทรัพย์ที่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้เร็วพอที่จะจ่ายหนี้ระยะสั้นหรือไม่ช่วยให้เรารู้ว่าบริษัทมีความสามารถในการจ่ายหนี้ระยะสั้น (เช่น หนี้ที่ต้องจ่ายภายใน 1 ปี) มากน้อยแค่ไหน ถ้าอัตราส่วนนี้สูง แปลว่าบริษัทมีเงินพอจ่ายหนี้ แต่ถ้าต่ำ แปลว่าบริษัทอาจเจอปัญหาในการจ่ายหนี้ได้ การวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์และทุนของบริษัท 3. ROE (Return on Equity) หรือ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ROE (%) = กำไรสุทธิ/ส่วนผู้ถือหุ้น ROE ใช้วัดว่าบริษัทสามารถทำกำไรได้เท่าไหร่จากเงินที่เจ้าของหรือผู้ถือหุ้นลงทุนไว้ บ่งบอกถึงความสามารถในการทำกำไรของบริษัท โดยทั่วไป ถ้า ROE สูง หมายความว่าบริษัทสามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีให้กับผู้ถือหุ้น 4. ROA (Return on Assets) หรือ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม ROA (%) = กำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี/สินทรัพย์รวมถัวเฉลี่ย ROA ใช้วัดว่าบริษัทสามารถทำกำไรได้เท่าไหร่จากสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี ช่วยให้เห็นว่าบริษัทใช้ทรัพยากรทั้งหมดที่มีอย่างมีประสิทธิภาพแค่ไหน ถ้า ROA สูง แปลว่าบริษัทใช้สินทรัพย์ได้ดีในการสร้างกำไร 5. อัตราหมุนเวียนสินทรัพย์รวม (Total Asset Turnover Ratio) อัตราหมุนเวียนสินทรัพย์รวม = รายได้/สินทรัพย์รวม อัตราหมุนเวียนสินทรัพย์รวม ใช้วัดว่าบริษัทใช้สินทรัพย์ทั้งหมดที่มีในการสร้างรายได้มากน้อยแค่ไหน ถ้าอัตรานี้สูง แสดงว่าบริษัทสามารถใช้สินทรัพย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพในการสร้างรายได้ แต่ถ้าต่ำ อาจแปลว่าบริษัทใช้สินทรัพย์ไม่เต็มประสิทธิภาพ การวัดและวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไรของบริษัท 6. อัตรากำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) อัตรากำไรขั้นต้น (%) = กำไรขั้นต้น/รายได้จากการขาย อัตรากำไรขั้นต้น ใช้วัดว่าบริษัททำกำไรได้เท่าไหร่หลังจากหักต้นทุนขาย (เช่น ค่าวัตถุดิบและค่าแรงในการผลิต) ออกแล้ว ช่วยให้เราเห็นว่าบริษัทมีประสิทธิภาพในการผลิตและขายสินค้า/บริการเพียงใด ถ้าอัตรานี้สูง แปลว่าบริษัทควบคุมต้นทุนการผลิตได้ดี และยังคงทำกำไรได้มากเมื่อเทียบกับรายได้ 7. อัตรากำไรจากการดำเนินงาน (Operating Profit Margin) อัตรากำไรจากการดำเนินงาน (%) = กำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี/รายได้รวม อัตรากำไรจากการดำเนินงาน วัดว่าบริษัททำกำไรได้เท่าไหร่จากการดำเนินงานหลักของธุรกิจหลังจากหักค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน (ยกเว้นดอกเบี้ยและภาษี) บอกให้รู้ถึงความสามารถในการจัดการค่าใช้จ่ายของบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจหลัก ถ้าอัตรานี้สูง แปลว่าบริษัทมีการจัดการค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ 8. อัตรากำไรสุทธิ (Net Profit Margin) อัตรากำไรสุทธิ (%) = กำไรสุทธิ/รายได้รวม อัตรากำไรสุทธิ  วัดว่าบริษัททำกำไรได้เท่าไหร่หลังจากหักค่าใช้จ่ายทั้งหมด รวมถึงดอกเบี้ยและภาษีออกจากรายได้ทั้งหมด แสดงถึงความสามารถในการทำกำไรสุทธิของบริษัท อัตรานี้บอกให้เรารู้ว่าในทุก 100 บาทของรายได้ บริษัทมีกำไรสุทธิเหลืออยู่เท่าไหร่ ถ้าอัตรานี้สูง แปลว่าบริษัทมีความสามารถในการทำกำไรที่ดี โปรแกรมบัญชีออนไลน์ PEAK ช่วยผู้ประกอบการจัดการบัญชีอย่างเป็นระบบ รองรับการเติบโต ช่วยให้ธุรกิจก้าวไปสู่ความสำเร็จทดลองใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี! 30 วัน มูลค่า 1,200 บาทคลิก   (ไม่มีค่าใช้จ่าย)PEAK Call Center : 1485LINE : @peakaccountสอบถามเพิ่มเติม คลิก 

ความรู้ธุรกิจความรู้บัญชี